fbpx

NEWS: สธ. ประกาศ “ไวรัสนิปาห์” เป็นโรคติดต่ออันตราย! เฝ้าระวังจากอินเดียระบาดเข้าไทย

Writer : Lalimay
: 25 พฤษภาคม 2561

“ไวรัสโรคสมองอักเสบนิปาห์” (Nipah) ได้แพร่ระบาดในทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย ทำให้มีผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมาก ผู้ที่เป็นจะมีอาการคล้ายไข้หวัดและก่อให้เกิดโรคไข้สมองอักเสบ ในตอนนี้เสียชีวิตแล้ว 11 คน และมีโอการระบาดมาถึงไทย กระทรวงสาธารณสุขจึงเฝ้าระวังเป็นพิเศษ เพราะไวรัสชนิดนี้ไม่มียาหรือวัคซีนรักษาให้หายขาดได้

นายแพทย์นคร เปรมศรี ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่าขณะนี้ในไทยยังไม่พบเชื้อและผู้ติดเชื้อ ไวรัสโรคสมองอักเสบนิปาห์ แต่ก็มีโอกาสที่จะแพร่ระบาดเข้ามา ดังนั้นจึงได้ประกาศให้ไวรัสชนิดนี้เป็น “โรคติดต่ออันตราย” พร้อมเฝ้าระวังและคัดกรองผู้ที่เดินทางเข้าประเทศโดยเฉพาะจากประเทศอินเดีย

สำหรับไวรัสโรคสมองอักเสบนิปาห์ เป็นไวรัสที่มาจากมูลและฉี่ของค้างคาวกินผลไม้ ซึ่งแพร่เชื้อต่อไปยังสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่นๆ เช่น หมู ม้า แพะ รวมถึงคนด้วยการติดต่อเกิดจากการสัมผัสมูลสัตว์ ปัสสาวะ สารคัดหลั่งของสัตว์ รวมไปถึงซากสัตว์

โดยผู้ติดเชื้อจะมีอาการคล้ายเป็นหวัด มีไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ซึ่งเชื้อจะแพร่ไปยังสมองและปอด ทำให้เกิดโรคสมองและปอดอักเสบ การตรวจวินิจฉัยโรคนี้ทำได้ยาก ผู้ติดเชื้อมีอัตราการเสียชีวิต 70% และปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรค องค์การอนามัยโลกจัดให้ไวรัสนิปาห์อยู่ใน 10 อันดับแรกของโรคที่อาจมีการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงครั้งใหญ่ในอนาคต

อ้างอิงจาก

ภาพจาก

Writer Profile : Lalimay

  • Blog :

  • Official Sponsors :
  • Samitivej Hospital

Generic placeholder image

บทความที่เกี่ยวข้อง



Update
Banner Banner
Live Action เรื่องล่าสุดจาก Disney ที่หลายๆคนรอคอยไม่ว่าจะเป็นคุณพ่อคุณแม่ที่เคยรับชมการ์ตูนในวัยหวานหรือแม้แต่คุณน้องคุณหนูที่หลงรักโลกใต้ท้องทะเลก็ตาม ใช่แล้วล่ะค่ะ เรากำลังพูดถึง “The Little Mermaid” หรือ “เงือกน้อยผจญภัย” ที่หยิบยกกลับมาทำใหม่ในเวอร์ชันคนแสดงในปีนี้ โดยมีนักร้องสาว “ฮัลลี เบลลีย์” รับบทนางเงือกน้อย “แอเรียล” พร้อมเป็นตัวแทนส่งเสียงบอกกับเด็กหญิงชายทั่วโลกว่า “ใครก็เป็นเจ้าหญิงได้”  หยิบกลับมาทำใหม่ ตีความใหม่ในรูปแบบที่ไม่เคยมีมาก่อนแบบนี้ ใครๆ ก็ต้องตื่นเต้นอยู่แล้ว ซึ่งเรื่องราวจะเป็นอย่างไร มีจุดเด่นจุดด้อย ข้อดีข้อเสียอย่างไร เหมาะสำหรับเด็กๆ หรือไม่ ลองไปดูกันเลย! เรื่องราวของนางเงือกน้อยแสนซน “แอเรียล” ธิดาคนสุดท้องของราชาไตรตันเจ้าแห่งโลกใต้สมุทรเธอมีความหลงใหลในโลกมนุษย์และใฝ่ฝันว่าอยากจะเดินเหินอย่างผู้คนบนดินแม้พ่อจะพยายามกีดกันเธอเท่าไรก็ตาม วันหนึ่งเธอบังเอิญได้พบกับ “เจ้าชายอีริค” และตกหลุมรักเขาเข้าอย่างจัง เธอจึงได้ทำข้อตกลงกับแม่มดทะเล “เออซูลาร์” เพื่อแลกเสียงอันไพเราะกับขาอย่างมนุษย์โดยมีข้อแม้ว่าเธอจะต้องได้รับจุมพิตจากเจ้าชายไม่เช่นนั้นเธอจะกลับมาเป็นเงือกและกลายเป็นทาสของเออซูลาร์ตลอดไปการออกเดินทางทำตามเสียงเรียกร้องของหัวใจเพื่อใช้ชีวิตอย่างที่ฝันจึงได้เริ่มต้นขึ้น เติมเต็มหัวใจที่ยังเปี่ยมไปด้วยความทรงจำของวัยเยาว์ ส่งต่อความกล้าหาญให้หนูน้อยเชื่อมั่นในตัวเอง และสิ่งที่ฝัน จูงมือลูกรักไปดู “The Little Mermaid” ได้แล้ววันนี้ ในโรงภาพยนตร์! ชมตัวอย่าง : https://www.youtube.com/watch?v=AS0vop2rgFo การ์ตูนเรื่องนี้เหมาะกับเด็กอายุ 8 ขวบขึ้นไป แม้จะมีเค้าโครงเรื่องหลักๆ มาจากการ์ตูนเงือกน้อยแอเรียลแบบต้นฉบับทั้งหมด แต่พอมาอยู่ในโลกแห่งความเป็นจริงก็ทวีคูณความจริงจังให้มากยิ่งขึ้นไปกว่าเดิม นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มเติมพื้นเพตัวละคร เสริมเนื้อเรื่องเพิ่มประเด็นให้มีความซับซ้อนยิ่งกว่าเดิม จึงบอกได้ว่าเป็นเวอร์ชันที่ไม่ค่อยเหมาะกับเด็กเล็กๆ เท่าไร ถึงอย่างนั้นเด็กๆก็ยังสามารถสนุกสนานกับกลิ่นอายของเทพนิยายชวนฝันเพลิดเพลินกับภาพบรรยากาศโลกใต้ท้องทะเลที่สวยงามสุดแสนจะแฟนตาซี รับประกันว่ากระตุ้นจินตนาการเรียกความตื่นตาตื่นใจจากเจ้าตัวน้อยแน่นอน เรื่องที่ต้องระวัง มีความรุนแรงและฉากน่ากลัว อย่างที่บอกไปว่า Live Action เวอร์ชันนี้ มีความดาร์ก ความสมจริงเพิ่มเข้ามา เรื่องความรุนแรงต่างๆ ฉากต่อสู้ ฉากปะทะ หรือหน้าตาของเหล่าสัตว์ร้ายใต้ทะเล อาจทำให้เด็กๆ ไม่สบายใจ หรือตื่นกลัวได้ แถมยังมีจังหวะตกใจ (Jump…
25 พฤษภาคม 2566

anal porno zdarma culi nudi al mare free sex videos antalya escort

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save