fbpx

"ออทิสติกเทียม" อาการน่ากังวลจากการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

Writer : Mookky TCN
: 19 มกราคม 2561

คุณพ่อคุณแม่อาจจะเห็นหรือเคยได้ยินข่าวเกี่ยวกับเด็กเด็กวัยเตรียมอนุบาลและวัยอนุบาลที่เล่นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ดูโทรทัศน์ มากเกินไป จนกลายเป็นเด็กที่มีพฤติกรรมคล้ายออทิสติก หรือเรียกกันว่า “ออทิสติกเทียม” มาดูกันค่ะว่าจะมีสาเหตุ อาการ เเละวิธีรักษาอย่างไรบ้าง

ออทิสติกเทียมคืออะไร ?

ออทิสติกเทียม คือ การที่เด็กขาดการสื่อสารแบบสองทาง ทำให้ตัวเด็กขาดการกระตุ้น เพราะการให้ลูกเล่นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือดูโทรทัศน์ เป็นการรับสารทางเดียวเท่านั้น ทำให้เด็กมีพัฒนาการทางสังคมที่ช้า

สาเหตุ

  • การสัมผัสกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ทโฟน แทปเเล็ต  ก่อนอายุ 2 ขวบ
  • ดูทีวีนานเกินไปมากกว่าวันละ 1 ชั่วโมง/วัน
  • ความเข้าใจผิดในการเลี้ยงลูก ด้วยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกต่างๆ มาเลี้ยงลูกเเทน เพราะความง่าย สะดวกสบาย

เพราะเด็กเล็กยังแยกแยะไม่ออกระหว่างโลกจริงกับโลกเสมือนในหน้าจอ จึงส่งผลต่อพัฒนาการ เพราะเเทนที่เด็กๆ จะเเสดงออกด้วยการพูดโต้ตอบปกติ ก็อาจจะไม่พูดออกมาเพราะกำลังอยู่กับโลกส่วนตวในหน้าจอ เเเป็นละในที่สุดก็จะพัฒนาไปปัญหาด้านการเข้าสังคมในที่สุด

ตรวจสอบอาการลูก

สามารถสังเกตอาการของลูกได้ว่าเป็นออทิสติกเทียมหรือไม่ได้ดังนี้

  • อายุ 6 เดือน   ไม่ยิ้ม ไม่แสดงอารมณ์สนุกสนาน
  • อายุ 9 เดือน   ไม่ร้อง ไม่ยิ้ม ไม่แสดงสีหน้า เเละไม่มีการโต้ตอบกับผู้คุย
  • อายุ 12 เดือน ไม่เล่นน้ำลาย เรียกชื่อเเล้วไม่หัน
  • อายุ 18 เดือน ไม่ใช้ท่าทางประกอบการพูด ไม่เล่นบทบาทสมมติ

ถ้าลูกมีอาการดังกล่าวควรเข้ารับการตรวจกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาการเด็กโดยตรง

 

วิธีป้องกัน

  • พูดคุย เล่น กับลูกบ่อยๆ

คุณพ่อคุณเเม่ควรคุยกับลูกอย่างน้อยวันละ 30 นาที – 1 ชั่วโมง เป็นการให้ลูกเรียนรู้การสื่อสารแบบสองทาง เด็กจะเข้าใจการโต้ตอบ สบตา คำศัพท์ เเละให้ลูกออกไปเล่นกับเด็กคนอื่นๆ บ้าง เพื่อสร้างทักษะด้านการปฎิสัมพันธ์

  • เลี้ยงลูกให้ห่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

ช่วง 2 ปีเเรกของเด็ก คุณพ่อคุณเเม่ยังไม่ควรให้ลูกเล่นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ดูโทรทัศน์ เเต่สามารถให้เล่นได้หลังจากอายุ 2 ขวบ เเละไม่ควรนานกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน นอกจากนั้นก็ควรหากิจกรรมอื่นๆ ให้ลูกทำ เช่น ต่อเลโก้ เล่นแป้งโดว์ วาดภาพระบายสี พับกระดาษ เป็นต้น

  • หมั่นสังเกตลูกเสมอ

เพราะจะได้ดูความผิดปกติได้แบบทันท่วงที โดยส่เด็กที่เป็นออทิสติกเทียมถ้าได้รับการรักษาเเละการกระตุ้นอย่างถูกต้อง อาการก็จะดีขึ้นในระยะเวลาประมาณ 6 เดือน ถึงจะกลับมาเป็นเด็กปกติได้

อยากฝากคุณพ่อคุณเเม่ว่าไม่ควรปลอยให้มือถือเลี้ยงลูก เพราะจะส่งผลกระทบมากกว่าที่เราคิด

ขอบคุณข้อมูลจาก –
Bangkokhospital
Posttoday

Writer Profile : Mookky TCN

  • Blog :
  • Social Media :

  • Official Sponsors :
  • Samitivej Hospital

Generic placeholder image

บทความที่เกี่ยวข้อง



CAR SEAT กับเด็กแต่ละช่วงอายุ
ข้อมูลทางแพทย์
10 คำพูด ที่คนเป็นแม่ไม่อยากได้ยินเลย
กิจกรรมของครอบครัว
เด็กผู้หญิงโตเร็วกว่าปกติได้อย่างไร ?
เด็กวัยเข้าโรงเรียน
Update
ไลฟ์สไตล์ ไลฟ์สไตล์
เคยกลับบ้านมาแล้วกรี๊ดลั่นบ้านเพราะเจ้าตัวแสบไปวิ่งเล่นเลอะเทอะกันไหมคะ ? หรือแต่งตัวลูกอย่างดีไปทานข้าวนอกบ้าน แต่คุณลูกก็ทำซอสหกใส่ ไอติมหล่นไปเป็นก้อน เละทั้งตัว วันนี้ ParentsOne มีเสื้อเด็กที่เจ๋งมากๆ จาก GQ : the good day lab™ มาลองรีวิวให้ได้ชมกันค่ะ 🛒 ช้อปเลยที่ -> https://gqsize.link/bZT7Sx แกะกล่อง GQ : the good day lab™ เสื้อเด็ก ฟีเจอร์เพียบ คุณภาพ GQ ขึ้นชื่อว่า GQ ก็มั่นใจได้เรื่องคุณภาพค่ะ ผ้านุ่ม เบาบาง เหมาะกับอากาศเมืองไทย ใส่วิ่งสบายๆ ที่แปลกตาคือเป็นเสื้อที่ไม่มีป้ายแท็กค่ะ ทั้งด้านหลังคอเสื้อ หรือข้างใน ไม่ต้องห่วงว่าจะเคืองหรือคันเลย กระดุมแข็งแรงเอามากๆ ใช้แรงผู้ใหญ่ดึงแรงๆ ก็ไม่มีปัญหาเลย ไฮไลท์สำคัญที่คุณแม่แทบกรี๊ด คือเป็นไม่เปื้อนค่าาาา เทน้ำ เทนมใส่เสื้อ ไม่เปียกเลย สะบัดสองที หายปกติ ซึ่งถ้าใครเคยเห็นโฆษณา GQ ที่เสื้อเชิ้ตขาวไปทำงานคุณพ่อ โดนกาแฟหกใส่ แต่ผ้าไม่เปื้อนเลย เทคโนโลยีผ้าสะท้อนน้ำ ตอนนี้มาอยู่ในเสื้อเด็กแล้ววววว ทีมงานทดสอบเทน้ำสีผสมอาหาร นม หรือแม้แต่ซอสมะเขือเทศลงบนเสื้อ ก็ไม่เปื้อนค่ะ ไม่น่าเชื่อมากๆ ข้อดีที่สุดของผ้าแบบนี้ คือทำให้ชีวิตคุณแม่สบายขึ้นมาก พาลูกไปเที่ยว วิ่งเล่นสนามหญ้า พาไปทานก๋วยเตี๋ยว หรือให้ทานอะไร ก็ไม่ต้องกลัวเสื้อสวยๆ เลอะ แถมประหยัดเวลาซักผ้าด้วย ไม่ต้องมาคอยแช่ผ้าให้คราบมันออกแบบสมัยก่อน สำหรับเสื้อเด็ก the good day lab™…
8 ธันวาคม 2566

anal porno zdarma culi nudi al mare free sex videos antalya escort

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save