fbpx

เตือนภัยพ่อแม่ คิดก่อนโพสต์รูปลูกก่อนจะเกิดอันตราย

Writer : Jicko
: 23 มีนาคม 2564

เชื่อเลยว่าพ่อแม่ส่วนใหญ่ถ้ามีลูก ก็มักจะถ่ายภาพต่างๆ ในชีวิตประจำวันของลูกเก็บกันไว้อยู่แล้ว ซึ่งการเก็บของแต่ละคนส่วนใหญ่ก็มักจะเก็บไว้บนโลกโซเชียลค่ะ จริงๆ มันก็อาจจะดูไม่มีพิษไม่มีภัย พ่อแม่อย่างเราเองก็ไม่ได้มีเจตนาไม่ดีในการลงรูป

ซึ่งรู้ไหมคะว่ามันเป็นอันตรายกับเด็กๆ มากแค่ไหน เพราะทุกครั้งที่เราคลิกโพสต์ ก็เหมือนเป็นการบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ในชีวิตประจำวันให้กับคนแปลกหน้าได้เช่นกันค่ะ

Sharenting (n.) เกิดจากคำว่า Share + Parenting

ใช้เรียกกิจกรรมที่พ่อแม่ยุคใหม่ชอบโพสต์ และแชร์ภาพลูกจนเกินพอดี ซึ่งอาจนำไปสู่การเผยข้อมูลส่วนตัวและรายละเอียดกิจกรรมที่เด็กๆ ทำ จนทำให้ส่งผลกระทบได้ในอนาคต

เช็คพฤติกรรมเราลงรูปลูกเกินไปหรือเปล่า

  • ลูกหกล้มร้องไห้ เราหยิบมือถือถ่ายก่อนจะช่วยเหลือ
  • เพื่อนๆ เริ่มอันฟอลโลว์เรา เนื่องจากลงรูปลูกซ้ำๆ จำนวนมาก
  • วันไหนที่ไม่ลงรูป คนอื่นมักจะถามว่าลูกเป็นอะไรหรือเปล่า

พ่อแม่สร้างเรื่องราวออนไลน์ให้ลูกยังไง

  • โพสต์ภาพลูกเพื่อเรียกคะแนนความสนใจและการกดไลก์จากเพื่อนๆ
  • อัปโหลดข้อมูลส่วนตัวลูกบนโลกอินเทอร์เน็ต เช่น ชื่อโรงเรียน ชื่อนามสกุลจริงของลูก ข้อมูลสุขภาพ
  • แชร์สถานที่ที่ลูกอยู่หรือเคยไปเสมอ เช่น บ้าน โรงเรียน สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ
  • แชร์ภาพหรือข้อความเกี่ยวกับลูกที่ไม่เหมาะสม
  • แชร์ทุกอย่างโดยเปิดเป็นสาธารณะเสมอ

ส่งผลกับลูกตอนโตยังไงบ้าง

1. ก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวเด็ก

เพราะการเผยแพร่ภาพลูกแต่ละครั้ง มันอาจจะไม่ใช่แค่การอวดความน่ารักของลูกแล้ว แต่มันยังเป็นการแสดงออกถึงข้อมูลพื้นฐานของเด็กๆ อีกด้วย ไม่ว่าจะเป็น อายุ โรงเรียน ข้อมูลกิจวัตรประจำวัน ซึ่งอันตรายต่อตัวเด็กมากนั่นเองค่ะ

2. เด็กสูญเสียความเป็นตัวเอง เพราะพ่อแม่สร้างตัวตนให้กับเด็กเองแบบที่เขาไม่ได้ต้องการ

พ่อแม่หลายคนมักจะสร้างตัวตนให้กับลูกบนโลกโซเชียลในแบบที่ตนเองต้องการ ไม่ว่าจะเป็นน่ารักตลอดเวลา ซึ่งนี่จะทำให้เด็กๆ สูญเสียความเป็นตัวเอง เพราะพ่อแม่มีการจัดการให้เรียบร้อยเพื่อให้ภาพออกมาดูดีในสายตาคนอื่น ทำให้เด็กๆ ขาดธรรมชาติได้ เพราะต้องดูดีต่อหน้าสาธารณชน ซึ่งเป็นปัญหาตามมาในอนาคตลูกได้ค่ะ

3. สภาพจิตใจในอนาคตของลูก

เช่น พ่อแม่โพสต์รูปลูกตอนเด็กๆ แบบเปลือย ซึ่งพอเขาโตขึ้น ภาพนี้มันก็ยังอยู่ตลอดบนโลกโซเชียล มันอาจจะส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของลูกได้เมื่อพวกเขาโตขึ้น หรือเด็กหลายคนไม่ชอบที่โตไปแล้วมีคนรู้จักมากมาย เป็นที่รู้จักของสาธารณะชน ซึ่งตัวตนนั้นเด็กๆ อาจจะไม่ได้ต้องการมาตั้งแต่ตนนั่นเองค่ะ

อ้างอิงจาก : Rama channel, adaymagazine, คลังความรู้ SciMath

Writer Profile : Jicko

  • Social Media :

  • Official Sponsors :
  • Samitivej Hospital

Generic placeholder image

บทความที่เกี่ยวข้อง



7  วิธี พิชิตการทานยากของเด็ก
ชีวิตครอบครัว
ลูกชอบพูดแทรก จะแก้อย่างไร
ชีวิตครอบครัว
เพราะแม่จะเป็นใครก็ได้
ชีวิตครอบครัว
Update
ไลฟ์สไตล์ ไลฟ์สไตล์
เคยกลับบ้านมาแล้วกรี๊ดลั่นบ้านเพราะเจ้าตัวแสบไปวิ่งเล่นเลอะเทอะกันไหมคะ ? หรือแต่งตัวลูกอย่างดีไปทานข้าวนอกบ้าน แต่คุณลูกก็ทำซอสหกใส่ ไอติมหล่นไปเป็นก้อน เละทั้งตัว วันนี้ ParentsOne มีเสื้อเด็กที่เจ๋งมากๆ จาก GQ : the good day lab™ มาลองรีวิวให้ได้ชมกันค่ะ 🛒 ช้อปเลยที่ -> https://gqsize.link/bZT7Sx แกะกล่อง GQ : the good day lab™ เสื้อเด็ก ฟีเจอร์เพียบ คุณภาพ GQ ขึ้นชื่อว่า GQ ก็มั่นใจได้เรื่องคุณภาพค่ะ ผ้านุ่ม เบาบาง เหมาะกับอากาศเมืองไทย ใส่วิ่งสบายๆ ที่แปลกตาคือเป็นเสื้อที่ไม่มีป้ายแท็กค่ะ ทั้งด้านหลังคอเสื้อ หรือข้างใน ไม่ต้องห่วงว่าจะเคืองหรือคันเลย กระดุมแข็งแรงเอามากๆ ใช้แรงผู้ใหญ่ดึงแรงๆ ก็ไม่มีปัญหาเลย ไฮไลท์สำคัญที่คุณแม่แทบกรี๊ด คือเป็นไม่เปื้อนค่าาาา เทน้ำ เทนมใส่เสื้อ ไม่เปียกเลย สะบัดสองที หายปกติ ซึ่งถ้าใครเคยเห็นโฆษณา GQ ที่เสื้อเชิ้ตขาวไปทำงานคุณพ่อ โดนกาแฟหกใส่ แต่ผ้าไม่เปื้อนเลย เทคโนโลยีผ้าสะท้อนน้ำ ตอนนี้มาอยู่ในเสื้อเด็กแล้ววววว ทีมงานทดสอบเทน้ำสีผสมอาหาร นม หรือแม้แต่ซอสมะเขือเทศลงบนเสื้อ ก็ไม่เปื้อนค่ะ ไม่น่าเชื่อมากๆ ข้อดีที่สุดของผ้าแบบนี้ คือทำให้ชีวิตคุณแม่สบายขึ้นมาก พาลูกไปเที่ยว วิ่งเล่นสนามหญ้า พาไปทานก๋วยเตี๋ยว หรือให้ทานอะไร ก็ไม่ต้องกลัวเสื้อสวยๆ เลอะ แถมประหยัดเวลาซักผ้าด้วย ไม่ต้องมาคอยแช่ผ้าให้คราบมันออกแบบสมัยก่อน สำหรับเสื้อเด็ก the good day lab™…
8 ธันวาคม 2566

anal porno zdarma culi nudi al mare free sex videos antalya escort

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save